1622 1379 1748 1494 1908 1468 1163 1785 1988 1894 1040 1145 1324 1272 1176 1975 1261 1860 1749 1623 1477 1855 1709 1361 1189 1418 1068 1073 1377 1868 1746 1352 1195 1016 1566 1600 1729 1684 1094 1135 1299 1513 1117 1760 1931 1047 1469 1684 1611 1608 1339 1220 1664 1507 1949 1040 1195 1615 1140 1807 1002 1749 1254 1135 1133 1042 1952 1541 1166 1373 1690 1362 1968 1198 1353 1179 1860 1827 1360 1979 1705 1967 1283 1272 1556 1564 1058 1131 1905 1134 1333 1613 1242 1306 1401 1095 1305 1762 1570 BCNSPRNW ULIB Ver.6.0+V

เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Marc Display : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
 ชื่อเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการการสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย =The relationship between selected factors, social support and adaptation of myocardial infaction patients /กุลธิดา พานิชกุล
 ISBN 9745876135
 ผู้แต่ง กุลธิดา พานิชกุล
 ชื่อเรื่องที่แตกต่าง Relationship between selected factors, social support and adaptation of myocardial infaction patients
 พิมพลักษณ์ 2536
 เลขเรียก (หาบนชั้น) วพ.WG280 ก726ค
 รูปเล่ม ก-ฏ, 143 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
 หมายเหตุ ทุน CMB คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 หมายเหตุ Send to Single Search
 หมายเหตุ วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (พยาบาลศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2536
 หมายเหตุ Summary: โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็นโรคเรื้อรัง ที่ต้องได้รับ การรักษา อย่างต่อเนื่อง และจำนวนผู้ป่วย มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละปี การเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกาย ได้แก่ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลง อาการเจ็บหน้าอก และความกลัว ต่อการเสียชีวิต แบบทันทีทันใด
 หมายเหตุ Summary: 1. เครือข่ายทางสังคม ที่ให้การสนับสนุน ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ส่วนใหญ่ ได้แก่คู่สมรส และบุตร, มีระยะเวลา ในการติดต่อกัน มากกว่า 20 ปีขึ้นไป, มีความถี่ ในการติดต่อ มากกว่า 30 ครั้งขึ้นไป ภายในระยะเวลา3 เดือน และวิธีที่ใช้ ในการติดต่อ มากที่สุดคือ การพบปะ 2. การสนับสนุน ทางสังคม ของผู้ป่วยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับปานกลาง3. การสนับสนุน ทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r equals .64) ระยะเวลา ที่ได้รับการศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ( r equals .39) 5. ระยะเวลา ที่เป็นโรคมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r equals .19) 6. รายได้ของครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r equals .18) 7. อายุและสถานภาพสมรส มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการปรับตัว
 หัวเรื่อง มหาวิทยาลัยมหิดล--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง มหาวิทยาลัยมหิดล. --คณะพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์
 หัวเรื่อง กล้ามเนื้อหัวใจตาย
 หัวเรื่อง กล้ามเนื้อหัวใจตาย--การรักษา
 หัวเรื่อง การปรับตัว
 หัวเรื่อง การปรับตัวทางสรีรภาพ
 หัวเรื่อง การดูแลภายหลังการรักษา
 หัวเรื่อง การปรับตัวทางจิต
 หัวเรื่อง การสนับสนุนทางสังคม
 ผู้แต่งร่วม ทัศนา บุญทอง, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งร่วม เสาวลักษณ์ เล็กอุทัย, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งร่วม วรรณี สัตยวิวัฒน์, ที่ปรึกษา
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
 ผู้แต่งนิติบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์
 ผู้แต่งนิติบุคคล Mahidol University. Thesis
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน

รายการสื่อสารสนเทศ

ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
วพ.WG280 ก726ค ฉ.1 
  Barcode: 023357
ห้องสมุดวิทยาเขตสวรรค์ประชารักษ์
► วิทยานิพนธ์
บนชั้น

รายการใกล้เคียง
    หัวเรื่อง [กล้ามเนื้อหัวใจตาย]
    หัวเรื่อง [การปรับตัว]
    หัวเรื่อง [การปรับตัวทางสรีรภาพ]
    หัวเรื่อง [การดูแลภายหลังการรักษา]
    หัวเรื่อง [การปรับตัวทางจิต]
    หัวเรื่อง [การสนับสนุนทางสังคม]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: ความสัมพันธ์ระหว..


 Copyright 2024. Bcnsprnw @Library